BPD คืออะไร ทำไมคุณแม่ท้องต้องให้ความสำคัญก่อนไปอัลตราซาวด์

BPD คืออะไร ทำไมคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ควรรู้

BPD คืออะไร ทำไมคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ควรรู้

คุณแม่ตั้งครรภ์
บทความ
เม.ย. 9, 2024
7นาที

เมื่อคุณแม่ตั้งครรภ์จะได้รับการตรวจอัลตราซาวด์ ซึ่งแพทย์จะทำการอัลตราซาวด์ให้คุณแม่หลังจากที่คุณแม่ไปฝากครรภ์ เพื่อดูพัฒนาการของทารกในครรภ์ ความสมบูรณ์แข็งแรง การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของทารกในครรภ์ รวมถึงดูว่าตั้งครรภ์ในมดลูกหรือนอกมดลูก และคำนวณอายุครรภ์ให้กับคุณแม่ทราบในเบื้องต้น

 

สรุป

  • Biparietal Diameter หรือ BPD คือการวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ เป็นการวัดสัดส่วนของทารกในครรภ์ที่แพทย์ใช้ในการคำนวณอายุครรภ์ให้กับคุณแม่ทราบ
  • BPD คือการวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ ในทางการแพทย์จะวัด BPD ได้อย่างชัดเจนตั้งแต่การตั้งครรภ์ของคุณแม่เข้าสู่อายุครรภ์ในไตรมาสที่ 2 เป็นต้นไป
  • BPD คือการวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ เป็นการวัดเส้นผ่าศูนย์กลางกะโหลกศีรษะของทารกในครรภ์ที่กำลังพัฒนา โดยจะวัดจากกระดูกด้านข้างของกระหม่อมข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง ซึ่งแพทย์จะใช้ประกอบเพื่อประเมินน้ำหนักของทารกในครรภ์ และคำนวณอายุครรภ์

 

เลือกอ่านตามหัวข้อ

 

Biparietal Diameter หรือ BPD คือการวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ เป็นการวัดสัดส่วนของทารกในครรภ์ที่แพทย์ใช้ในการคำนวณอายุครรภ์ให้กับคุณแม่ทราบ สำหรับการวัดขนาดศีรษะทารกจะบอกได้ถึงขนาดความยาวของตัวทารกในครรภ์  ซึ่งความยาวของทารก แพทย์จะวัดความยาวจากยอดศีรษะ   (crown) ไปจนถึงส่วนล่างสุดของสะโพก (rump) เท่านั้น จะไม่ได้วัดรวมในส่วนของแขนขา (limbs) และถุงไข่แดง (yolk sac) สำหรับการวัดความยาวของทารกในครรภ์มีประโยชน์ต่อการคำนวณอายุครรภ์ได้ตั้งแต่ไตรมาสแรก

 

BPD คืออะไร คุณพ่อคุณแม่ควรรู้

Biparietal Diameter หรือ BPD คือการวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ เป็นการวัดเส้นผ่าศูนย์กลางกะโหลกศีรษะของทารกในครรภ์ที่กำลังพัฒนา โดยจะวัดจากกระดูกด้านข้างของกระหม่อมข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง การวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารก แพทย์จะใช้ประกอบเพื่อประเมินน้ำหนักของทารกในครรภ์ และคำนวณอายุครรภ์

 

ประโยชน์ของการวัดขนาดกะโหลกศีรษะของทารกในครรภ์

  1. ช่วยในการคำนวณอายุครรภ์
  2. ช่วยให้ทราบสัดส่วนของทารกในครรภ์
  3. ช่วยในการประเมินน้ำหนักของทารกในครรภ์
  4. ช่วยให้ทราบว่าสมองของทารกในครรภ์ที่กำลังพัฒนามีการเจริญเติบโตอย่างไร

 

Biparietal Diameter ทำได้โดยวิธีการอัลตราซาวด์วิธีเดียวไหม?

การวัด BPD ความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ ทำการวัดได้โดยการอัลตราซาวด์ เพื่อช่วยในการตรวจจับภาพด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง  แพทย์จะทำการปรับภาพจนเห็นภาพศีรษะ และลักษณะทางกายวิภาคของทารกในครรภ์

 

BPD เริ่มทำได้ตอนอายุครรภ์เท่าไหร่

BPD คือการวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ ในทางการแพทย์จะวัด BPD ได้อย่างชัดเจนตั้งแต่การตั้งครรภ์ของคุณแม่เข้าสู่อายุครรภ์ตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 เป็นต้นไป โดยแพทย์จะนำผล BPD ที่วัดได้จากการอัลตราซาวด์มาใช้ประกอบในการประเมินอายุครรภ์ ได้อย่างแม่นยำโดยเฉพาะในช่วงอายุครรภ์ 14-28 สัปดาห์

 

คุณแม่ต้องรู้ BPD คืออะไร ควรทำกี่ครั้ง

 

ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนถึงคลอด แพทย์จะทำ BPD กี่ครั้ง

  • การตรวจ BPD แพทย์จะทำระหว่างการตรวจอัลตราซาวด์ปกติในคนท้อง ซึ่งส่วนใหญ่จะมีการอัลตราซาวด์ 1-3 ครั้ง (การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง) โดยปกติจะมีการตรวจตั้งแต่ช่วงแรกของการตั้งครรภ์ไปจนถึงอายุครรภ์ประมาณสัปดาห์ที่ 20  แต่ในคุณแม่ท้องที่มีความเสี่ยงต่าง ๆ ขณะตั้งครรภ์อาจต้องทำการตรวจอัลตราซาวด์เพิ่มตามที่แพทย์แนะนำค่ะ
  • การตรวจครรภ์ตลอดการตั้งครรภ์เฉลี่ยอยู่ที่ 10-12 ครั้ง แพทย์จะตรวจครรภ์คุณแม่ครั้งแรกตอนฝากครรภ์ จากนั้นจะนัดคุณแม่มาเพื่อตรวจครรภ์
    1. คุณแม่มีอายุครรภ์ น้อยกว่า 28 สัปดาห์ แพทย์นัดตรวจครรภ์ทุก 4 สัปดาห์
    2. คุณแม่มีอายุครรภ์ ระหว่าง 28-36 สัปดาห์ แพทย์นัดตรวจครรภ์ทุก 2 สัปดาห์
    3. คุณแม่มีอายุครรภ์ มากกว่า 36 สัปดาห์ แพทย์นัดตรวจครรภ์ทุก 1 สัปดาห์ จนคลอดลูก

 

BPD ให้ผลแม่นยำมากแค่ไหน

BPD คือการวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ ซึ่งความถูกต้องแม่นยำของความกว้างศีรษะทารกที่แพทย์จะใช้ในการคำนวณอายุครรภ์ จะขึ้นอยู่กับอายุครรภ์ของคุณแม่ และรูปร่างของศีรษะทารก

  • การวัด BPD ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ความคลาดเคลื่อนในการคำนวณอายุครรภ์เท่ากับ 7 วัน
  • การวัด BPD ช่วงอายุครรภ์หลัง 20 สัปดาห์ ความคลาดเคลื่อนในการคำนวณอายุครรภ์เท่ากับ 7-11 วัน หรือ 1-2 สัปดาห์
  • การวัด BPD ในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์ ความคลาดเคลื่อนมีได้สูงถึง 2-4 สัปดาห์

 

สำหรับการวัด BPD ถ้ากรณีที่รูปร่างของศีรษะทารกผิดไปจากปกติ เช่น ทารกอยู่ในท่าก้น น้ำคร่ำน้อย หรือมีก้อนเนื้องอกมดลูกกดเบียดศีรษะทารก ก็อาจมีผลต่อค่าความกว้างของศีรษะทารกในครรภ์

 

ตาราง BPD ขนาดศีรษะของทารกตามอายุครรภ์

Biparietal Diameter (BPD) ขนาดความกว้างของศีรษะทารกในครรภ์ จะมีขนาดดังต่อไปนี้ค่ะ 

อายุครรภ์ (สัปดาห์)

ขนาดศีรษะของทารกในครรภ์ (mm)

16

32.3

16.5

34.2

17

36.0

17.5

37.7

18

39.5

18.5

41.3

19 

43.0

19.5 

44.7

20

46.4

20.5

48.1

21

49.7

21.5

51.4

22

53.0

22.5

54.6

23

56.2

23.5

57.8

24

59.3

24.5

60.8

25

62.3

25.5

63.8

26

65.3

26.5

66.7

27

68.1

27.5

69.5

28

70.8

28.5

72.2

29

73.5

29.5

74.7

30

76.0

30.5

77.2

31

78.4

31.5

79.6

32

80.7

32.5

81.9

33

82.9

33.5

84.0

34

85.0

34.5

86.0

35

87.0

35.5

87.9

36

88.8

36.5

89.7

37

90.5

37.5

91.3

38

92.1

38.5

92.8

39

93.5

39.5

94.2

40

94.8

40.5

95.4

41

95.9

41.5

96.5

42

96.9

  

ศัพท์ทางการแพทย์อื่น ๆ ที่ควรรู้ก่อนไปอัลตราซาวด์

  • การวัดความยาวของทารก (Crown-Rump Length; CRL)
  • การวัดความกว้างของศีรษะทารก (Biparietal Diameter; BPD)
  • การวัดเส้นรอบวงศีรษะ (Head Circumference; HC)
  • การวัดเส้นรอบท้อง (Abdominal Circumference; AC)
  • การวัดความยาวกระดูกต้นขา (Femur Length; FL)
  • การวัดน้ำคร่ำ (Amniotic Fluid Index; AFI)
  • การคะเนน้ำหนักทารกในครรภ์ (Estimated Fetal Weight; EFW)

 

การวัดความกว้างของขนาดศีรษะทารกในครรภ์ (Biparietal Diameter หรือ BPD) รวมถึงการตรวจต่าง ๆ ระหว่างตั้งครรภ์ไปจนถึงช่วงคลอด คุณแม่สามารถสอบถามจากแพทย์ที่ดูแลครรภ์คุณแม่อย่างละเอียดอีกครั้ง เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนมากขึ้น รวมถึงคำแนะนำการดูแลสุขภาพครรภ์ให้แข็งแรงปลอดภัยทั้งคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์ค่ะ

 

การดูแลพัฒนาการสมองของทารกตั้งแต่ในครรภ์เป็นเรื่องสำคัญอย่างมาก นอกจากยาบำรุงและวิตามินที่แพทย์จัดให้รับประทานขณะตั้งครรภ์ คุณแม่ควรรับประทานอาหารบำรุงครรภ์ ที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ เพื่อให้ได้โภชนาการสารอาหารที่หลากหลาย ทารกในครรภ์จะได้มีพัฒนาการที่สมบูรณ์แข็งแรง และหลังคลอดให้คุณแม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตั้งแต่แรกเกิด เพราะนมแม่มีสารอาหารมากกว่า 200 ชนิด เช่น ดีเอชเอ วิตามิน แคลเซียม และสฟิงโกไมอีลิน ซึ่งช่วยในการพัฒนาสมอง สติปัญญา และการเจริญเติบโตของลูก

 

บทความแนะนำสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

 

 

อ้างอิง:

  1. ตอบข้อสงสัยคุณแม่...เรื่องอัลตร้าซาวด์, โรงพยาบาลพญาไท
  2. การวัดสัดส่วนทารกสำหรับสูติแพทย์และแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป(Fetal Biometry for Obstetrician and General Practitioners), คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  3. Biparietal Diameter and Your Pregnancy Ultrasound, verywell family
  4. ฝากครรภ์ให้เร็วที่สุด เพื่อสุขภาพของคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์, โรงพยาบาลพญาไท
  5. Hadlock Ultrasound Measurements Based on Gestational Age, babyMed
  6. OB Ultrasound for Extern, คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อ้างอิง ณ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2567

บทความที่เกี่ยวข้อง

View details น้ำคร่ำ คืออะไร น้ำคร่ำรั่ว อาการแบบไหน สัญญาณใกล้คลอดที่ต้องรู้
บทความ
น้ำคร่ำ คืออะไร น้ำคร่ำรั่ว อาการแบบไหน สัญญาณใกล้คลอดที่ต้องรับมือ

น้ำคร่ำ คืออะไร น้ำคร่ำรั่ว อาการแบบไหน สัญญาณใกล้คลอดที่ต้องรู้

น้ำคร่ำ คืออะไร น้ำคร่ำรั่ว อาการแบบไหน คุณแม่ต้องระวังหรือไม่ ขณะตั้งครรภ์หากน้ำคร่ำน้อยจะมีผลต่อทารกในครรภ์อย่างไร ไปดูอาการน้ำคร่ำรั่วที่แม่ควรรู้กัน

1นาที อ่าน

View details คุณแม่ท้อง 2 เดือน อายุครรภ์ 2 เดือน เป็นแบบไหน พร้อมวิธีรับมือ
บทความ
คุณแม่ท้อง 2 เดือน อายุครรภ์ 2 เดือน เป็นแบบไหน พร้อมวิธีรับมือ

คุณแม่ท้อง 2 เดือน อายุครรภ์ 2 เดือน เป็นแบบไหน พร้อมวิธีรับมือ

คุณแม่ท้อง 2 เดือน อายุครรภ์ 2 เดือน มีอาการแบบไหน ลูกอยู่ตรงไหน พัฒนาการทารกในครรภ์ 2 เดือน เป็นอย่างไร พร้อมวิธีรับมือและวิธีดูแลทารกในครรภ์

2นาที อ่าน

View details อาการคนท้อง 3 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 3 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง
บทความ
อาการคนท้อง 3 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 3 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อาการคนท้อง 3 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 3 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อาการคนท้อง 3 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 3 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ลูกตัวใหญ่แค่ไหน สัญญาณอะไรที่บอกว่าคุณแม่อายุครรภ์ 3 สัปดาห์แล้ว พร้อมวิธีดูแลครรภ์

2นาที อ่าน

View details ท่านอนคนท้อง ท่าที่คนท้องไม่ควรทำ ท่าไหนที่แม่ท้องควรเลี่ยง
บทความ
ท่านอนคนท้อง ท่าที่คนท้องไม่ควรทำ ท่าไหนที่แม่ท้องควรเลี่ยง

ท่านอนคนท้อง ท่าที่คนท้องไม่ควรทำ ท่าไหนที่แม่ท้องควรเลี่ยง

ท่าที่คนท้องไม่ควรทำ ท่านอนคนท้อง-ท่านั่งคนท้องแบบไหนดีกับคุณแม่ ท่าไหนที่คุณแม่ท้องควรหลีกเลี่ยง เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันการปวดเมื่อยไม่สบายตัว

5นาที อ่าน

View details วิธีดูลักษณะท้องของคนท้อง ดูยังไงว่าท้องหรือพุง มองออกเลยไหม
บทความ
วิธีดูลักษณะท้องของคนท้อง ดูยังไงว่าท้องหรือพุง มองออกเลยไหม

วิธีดูลักษณะท้องของคนท้อง ดูยังไงว่าท้องหรือพุง มองออกเลยไหม

ไขข้อข้องใจ พุงคนท้องระยะแรกเป็นแบบไหน ลักษณะท้องของคนท้องกับคนทั่วไปต่างกันยังไง มีวิธีสังเกตยังไง ไปดูลักษณะท้องของคนท้องและพุงคนท้องกัน

5นาที อ่าน

View details คนท้องมีเพศสัมพันธ์ได้ไหม แบบไหนไม่อันตราย
บทความ
คนท้องมีเพศสัมพันธ์ได้ไหม แบบไหนไม่อันตราย

คนท้องมีเพศสัมพันธ์ได้ไหม แบบไหนไม่อันตราย

มีเพศสัมพันธ์ตอนท้อง คนท้องมีเพศสัมพันธ์ได้ไหม หลั่งในตอนท้องอันตรายไหมสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ มีอะไรที่คุณแม่ควรรู้เกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ตอนท้องบ้าง

7นาที อ่าน

View details ภาวะครรภ์เป็นพิษ อาการครรภ์เป็นพิษเริ่มแรก อันตรายไหม
บทความ
ภาวะครรภ์เป็นพิษ อาการครรภ์เป็นพิษเริ่มแรก อันตรายไหม

ภาวะครรภ์เป็นพิษ อาการครรภ์เป็นพิษเริ่มแรก อันตรายไหม

รู้จักกับอาการครรภ์เป็นพิษ อาการครรภ์เป็นพิษเริ่มแรกเป็นอย่างไร ภาวะอันตรายที่คุณแม่ท้องต้องระวัง พร้อมวิธีดูแลครรภ์ให้ปลอดภัยสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

4นาที อ่าน

View details ที่ตรวจครรภ์ 2 ขีดแบบจุ่ม ที่ตรวจครรภ์ขึ้น 2 ขีดจาง ท้องไหม
บทความ
ที่ตรวจครรภ์ 2 ขีดแบบจุ่ม ที่ตรวจครรภ์ขึ้น 2 ขีดจาง ท้องไหม

ที่ตรวจครรภ์ 2 ขีดแบบจุ่ม ที่ตรวจครรภ์ขึ้น 2 ขีดจาง ท้องไหม

ที่ตรวจครรภ์ขึ้น 2 ขีด คุณแม่ตรวจครรภ์ 2 ขีดจางมาก ๆ บ่งบอกว่าคุณแม่กำลังตั้งครรภ์เจ้าตัวเล็กหรือเปล่านะ ไปดูวิธีตรวจครรภ์สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์กัน

6นาที อ่าน

View details คุณแม่ปวดท้องน้อยหลังคลอด อันตรายไหม รับมืออย่างไรดี
บทความ
คุณแม่ปวดท้องน้อยหลังคลอด อันตรายไหม รับมืออย่างไรดี

คุณแม่ปวดท้องน้อยหลังคลอด อันตรายไหม รับมืออย่างไรดี

อาการปวดท้องขณะตั้งครรภ์อ่อน ๆ อันตรายไหม เกิดจากอะไรได้บ้าง คุณแม่ปวดหน่วงท้องน้อยและมีอาการปวดท้องขณะตั้งครรภ์อ่อน ๆ จะสังเกตได้อย่างไรบ้าง

5นาที อ่าน

View details คนท้องกินแตงโมได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า
บทความ
คนท้องกินแตงโมได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า

คนท้องกินแตงโมได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า

คนท้องกินแตงโมได้ไหม ในแตงโมมีสารอาหารอะไรบ้างที่เป็นประโยชน์กับร่างกายของคุณแม่และลูกในครรภ์ ต้องกินเท่าไหร่ถึงพอดี ไม่เป็นอันตรายกับลูกน้อย

5นาที อ่าน

View details คนท้องกินสับปะรดได้ไหม อันตรายกับลูกในครรภ์หรือเปล่า
บทความ
คนท้องกินสับปะรดได้ไหม อันตรายกับลูกในครรภ์หรือเปล่า

คนท้องกินสับปะรดได้ไหม อันตรายกับลูกในครรภ์หรือเปล่า

คนท้องกินสับปะรดได้ไหม คุณแม่กินสับปะรดมากเกินไปเสี่ยงแท้งจริงหรือเปล่า กินเท่าไหร่ถึงพอดีและไม่เป็นอันตรายกับลูกในท้อง พร้อมวิธีดูแลครรภ์แม่ท้อง

5นาที อ่าน

View details คนท้องกินวิตามินซีได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า
บทความ
คนท้องกินวิตามินซีได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า

คนท้องกินวิตามินซีได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า

คนท้องกินวิตามินซีได้ไหม คุณแม่อยากบำรุงครรภ์และร่างกายให้แข็งแรง ควรกินในปริมาณเท่าไหร่ถึงเหมาะสม หากกินมากเกินจะส่งผลเสียต่อการตั้งครรภ์ไหม

7นาที อ่าน

View details ตารางน้ำหนักทารกในครรภ์ พร้อมวิธีดูน้ำหนักลูกในครรภ์
บทความ
ตารางน้ำหนักทารกในครรภ์ พร้อมวิธีดูน้ำหนักลูกในครรภ์

ตารางน้ำหนักทารกในครรภ์ พร้อมวิธีดูน้ำหนักลูกในครรภ์

ตารางน้ำหนักทารกในครรภ์ น้ำหนักลูกในครรภ์ เรื่องสำคัญที่คุณพ่อคุณแม่ต้องรู้ เพราะน้ำหนักทารกในครรภ์ ช่วยบอกถึงพัฒนาการตามวัยของลูกน้อยในท้องได้

7นาที อ่าน

View details ทำหมันหญิงอันตรายไหม ทำหมันหลังคลอดทันทีได้หรือเปล่า
บทความ
ทำหมันหญิงอันตรายไหม ทำหมันหลังคลอดทันทีได้หรือเปล่า

ทำหมันหญิงอันตรายไหม ทำหมันหลังคลอดทันทีได้หรือเปล่า

การทำหมันหญิงอันตรายไหม คุณแม่ทำหมันหลังคลอดทันที พักฟื้นนานหรือเปล่า มีข้อดี-ข้อเสียอย่างไรบ้าง พร้อมวิธีดูแลตัวเองหลังการทำหมันหญิงหลังคลอด

5นาที อ่าน

View details อารมณ์คนท้องขึ้น ๆ ลงๆ รับมืออารมณ์คนท้องระยะแรกยังไงดี
บทความ
อารมณ์คนท้องขึ้น ๆ ลงๆ รับมืออารมณ์คนท้องระยะแรกยังไงดี

อารมณ์คนท้องขึ้น ๆ ลงๆ รับมืออารมณ์คนท้องระยะแรกยังไงดี

อารมณ์คนท้องระยะแรกเป็นแบบไหน คุณแม่ท้องอารมณ์ขึ้นๆ ลง เกิดจากอะไรได้บ้าง คุณพ่อมือใหม่มีวิธีรับมือกับอารมณ์คนท้องระยะแรกของคุณแม่ได้อย่างไร ไปดูกัน

6นาที อ่าน

View details หลังคลอด 1 เดือน มีเพศสัมพันธ์ได้ไหม มีเพศสัมพันธ์ได้ตอนไหน
บทความ
หลังคลอด 1 เดือน มีเพศสัมพันธ์ได้ไหม มีเพศสัมพันธ์ได้ตอนไหน

หลังคลอด 1 เดือน มีเพศสัมพันธ์ได้ไหม มีเพศสัมพันธ์ได้ตอนไหน

หลังคลอด 1 เดือน มีเพศสัมพันธ์ได้ไหม คุณแม่หลังคลอดมีเพศสัมพันธ์เลยทันทีจะเป็นอันตรายหรือเปล่า มีเพศสัมพันธ์ตอนไหนปลอดภัยกับคุณแม่ที่สุด ไปดูกัน

6นาที อ่าน

View details ท้องแข็งบ่อยขณะตั้งครรภ์ ลูกโก่งตัวบ่อย อันตรายไหม
บทความ
ท้องแข็งบ่อยขณะตั้งครรภ์ ลูกโก่งตัวบ่อย อันตรายไหม

ท้องแข็งบ่อยขณะตั้งครรภ์ ลูกโก่งตัวบ่อย อันตรายไหม

ท้องแข็งบ่อย ลูกโก่งตัวบ่อย อาการที่พบได้ทั่วไปในช่วงไตรมาส 3 ของการตั้งครรภ์ อาการท้องแข็งบ่อยเป็นอย่างไร ไปดูวิธีป้องกันอาการท้องแข็งบ่อยกัน

5นาที อ่าน

View details คุณแม่ท้อง 7 เดือน ลูกอยู่ตรงไหน ตั้งครรภ์ 7 เดือน ที่แม่ต้องรู้
บทความ
คุณแม่ท้อง 7 เดือน ลูกอยู่ตรงไหน ตั้งครรภ์ 7 เดือน ที่แม่ต้องรู้

คุณแม่ท้อง 7 เดือน ลูกอยู่ตรงไหน ตั้งครรภ์ 7 เดือน ที่แม่ต้องรู้

คุณแม่ท้อง 7 เดือน อายุครรภ์ 7 เดือน มีอาการแบบไหน ทารกในครรภ์ 7 เดือน หัวลูกอยู่ตรงไหน อาการท้องแข็งขณะตั้งครรภ์ 7 เดือน พร้อมวิธีดูแลทารกในครรภ์

7นาที อ่าน

View details อาการคนท้อง 2 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 2 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง
บทความ
อาการคนท้อง 2 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 2 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อาการคนท้อง 2 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 2 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อาการคนท้อง 2 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 2 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ลูกตัวใหญ่แค่ไหน สัญญาณอะไรที่บอกว่าคุณแม่อายุครรภ์ 2 สัปดาห์แล้ว พร้อมวิธีดูแลครรภ์

2นาที อ่าน