อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 14 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 14 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 14 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

คุณแม่ตั้งครรภ์
บทความ
มี.ค. 4, 2020

ช่วงเวลาอายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ถือว่าเป็นช่วงไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์ ร่างกายของคุณแม่จะมีการเปลี่ยนแปลงจากในช่วง 3 เดือนแรกอย่างชัดเจน โดยทั่วไปแล้ว อายุครรภ์ 14 สัปดาห์นั้น คุณแม่จะมีหน้าท้องที่ขยายใหญ่ขึ้นจนสามารถมองเห็นได้แล้ว และอาการแพ้ท้องก็จะเบาบางลงจนหมดไป พร้อมกับการเจริญเติบโตของลูกน้อยที่มีขนาดประมาณ 8-10 เซนติเมตร ใหญ่เพียงประมาณลูกพีชเท่านั้นเอง

 

สรุป

  • คุณแม่อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนหลายประการ เช่น ท้องที่เริ่มขยายใหญ่ขึ้น
  • ลูกน้อยในครรภ์มีขนาดใหญ่เพียงราว 10 เซนติเมตร และมีอวัยวะสำคัญพัฒนาครบแล้ว
  • อาการต่าง ๆ ของคุณแม่อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ เช่น หน้าอกขยายขนาดใหญ่ขึ้น ท้องผูก และอยากอาหารมากขึ้น
  • หากคุณแม่พบอาการผิดปกติ ควรปรึกษาแพทย์
  • คุณแม่ท้อง 14 สัปดาห์ ต้องดูแลตัวเอง

 

เลือกอ่านตามหัวข้อ

 

เมื่อคุณแม่มีอายุครรภ์เข้าสู่ช่วงสัปดาห์ที่ 14 เป็นการเข้าสู่ช่วงไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์ หน้าท้องของคุณแม่จะขยายใหญ่ออกมาจนสามารถมองเห็นได้ ทั้งนี้ก็อาจขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น สรีระ หรือรูปทรงร่างกายของคุณแม่ เป็นต้น ดังนั้นแล้วคุณแม่จะค่อนข้างวางใจได้มากขึ้น เพราะความเสี่ยงที่จะแท้งบุตรจะต่ำกว่าในช่วงสามเดือนแรกของการตั้งครรภ์เป็นอย่างมาก อาการคลื่นเหียนจากการแพ้ท้องจะหายไปแล้วในตอนนี้

 

อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ลูกน้อยจะมีการเติบโตอย่างไรบ้าง

ตัวอ่อนในครรภ์จะมีขนาดประมาณ 4 นิ้ว หรือราว 10 เซนติเมตร และหนักประมาณ 43.09 กรัม ตัวอ่อนจะมีการพัฒนาของอวัยวะหลัก ๆ ครบถ้วนแล้ว สามารถแสดงสีหน้าได้ อวัยวะภายใน เช่น ตับ ม้าม และไต ของตัวอ่อนจะเริ่มทำงานแล้ว จนในบางครั้งเราอาจจะเห็นตัวอ่อนกำลังดูดนิ้วอยู่ในครรภ์ด้วย

 

อาการของคุณแม่อายุครรภ์ 14 สัปดาห์

  1. มีความอยากอาหารเพิ่มขึ้น
    แน่นอนว่าการมีอีกชีวิตน้อยๆ ที่กำลังเติบโตอยู่ในครรภ์ ย่อมทำให้คุณแม่ต้องการพลังงานและสารอาหารมาเพื่อดูแลลูกในท้องเพิ่มขึ้น
  2. มีอาการปวดบริเวณสีข้าง เพราะมดลูกกำลังขยายตัว
    การที่ทารกในครรภ์เติบโตขยายขนาดขึ้น ย่อมทำให้มดลูกต้องขยายตามด้วย ทำให้ภาระตกอยู่ที่หลังและสีข้างที่ต้องรองรับการเปลี่ยนแปลงสรีระของคุณแม่
  3. เส้นผมหนาขึ้น
  4. ท้องผูก
    เพราะมดลูกที่ขยายตัวไปเบียดอยู่กับอวัยวะอื่น เช่น ลำไส้ จึงทำให้คุณแม่ที่กำลังตังครรภ์จะมีอาการท้องผูกบ่อย
  5. หน้าอกขยายใหญ่ขึ้น และอาจมีอาการคัดหน้าอก
  6. อาจจะมีอาการติดเชื้อเกิดขึ้นได้ง่าย
    เพราะภูมิคุ้มกันของคุณแม่ในช่วงตั้งครรภ์อ่อนแอลง จึงทำให้คุณแม่อาจจะป่วย ด้วยอาการติดเชื้อได้ง่าย

 

อาการของคุณแม่อายุครรภ์ 14 สัปดาห์

 

คุณแม่มีอาการที่ผิดปกติ ควรรีบปรึกษาคุณหมอ

1. นอนไม่หลับ

อาจเกิดจากการที่ต้องลุกเข้าห้องน้ำบ่อย ๆ ในเวลากลางคืน และท่านอนไม่สะดวก ไม่สบายตัว ซึ่งควรปรึกษาแพทย์เพื่อแก้ปัญหา เนื่องจากการนอนหลับให้เพียงพอมีความสำคัญต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในระหว่างตั้งครรภ์

 

2. มีเลือดออกจากช่องคลอด

อาการนี้อาจจะเป็นสัญญาณของภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ จึงควรรีบปรึกษาแพทย์ เพื่อหาสาเหตุและแก้ไขตั้งแต่เนิ่น ๆ

 

3. มีอาการแพ้ท้อง

เนื่องจากในช่วงอายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ฮอร์โมนในร่างกายคุณแม่ปรับสมดุลได้แล้ว จึงมักจะไม่มีอาการแพ้ท้องปรากฏขึ้นแล้ว แต่หากคุณแม่ยังมีอาการแพ้ท้องรุนแรง จนไม่สามารถทานอาหารได้ หรือมีน้ำหนักตัวลดลง ควรไปปรึกษาคุณหมอเพราะอาจเป็นอีกสาเหตุของอาการขาดสารอาหารของคุณแม่และเด็กได้

 

4. มีอาการน้ำเดิน

หรือน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด เนื่องจากอาการน้ำเดิน หรือน้ำคร่ำแตก เป็นสัญญาณหนึ่งของกระบวนการคลอด อาการนี้ปกติจะเกิดขึ้นเมื่ออายุครรภ์ครบกำหนดคลอด โดยเป็นสัญญาณของการเริ่มคลอด แต่หากมีอาการน้ำเดินก่อนอายุครรภ์ที่เหมาะสม คุณแม่ควรมาปรึกษาแพทย์เพื่อความปลอดภัย

 

5. อาการอื่น ๆ

คุณแม่อาจมีอาการอื่น ๆ แทรกเข้ามาได้ เช่น มีไข้ ไอธรรมดา คุณแม่ก็ควรไปปรึกษาแพทย์เช่นกัน เนื่องจากหลายอาการสามารถกระตุ้นให้เกิดอาการเจ็บท้องคลอดได้เช่นกัน ซึ่งหากเกิดขึ้นก่อนเวลาที่เหมาะสม อาจจะเป็นสัญญาณของภาวะผิดปกติในการตั้งครรภ์ได้ และที่สำคัญคือไม่ควรหาซื้อยามาทานเอง เพราะยาบางตัวอาจมีผลข้างเคียงกับทารกในครรภ์ได้ด้วย

 

อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ลูกในครรภ์จะตัวใหญ่แค่ไหน

ทารกอายุ 14 สัปดาห์ ที่ยังเป็นตัวอ่อนภายในครรภ์ จะมีขนาดตัวประมาณ 8 – 10 เซนติเมตร และมีน้ำหนักเพียง 43.09 กรัมเท่านั้นเอง ขนาดประมาณนี้ หากจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพได้ง่าย ลูกน้อยของคุณในช่วงอายุครรภ์ 14 สัปดาห์ จะมีขนาดประมาณลูกพีชลูกหนึ่งเท่านั้นเอง

 

ในช่วงสัปดาห์ที่ 14 นี้ ลูกน้อยในครรภ์อาจจะเริ่มเตะท้องคุณแม่บ้างแล้ว ซึ่งคุณแม่บางส่วนเท่านั้นที่อาจจะรู้สึกได้ในตอนนี้ และลูกน้อยก็เริ่มจะปัสสาวะได้แล้ว เนื่องจากไตของทารกพัฒนาและเริ่มใช้งานได้แล้วอีกด้วย

 

พัฒนาการโดยรวมของทารกในครรภ์อายุ 14 สัปดาห์

  • ลูกน้อยจะขยับตัว หรือเตะท้องคุณแม่เบา ๆ บ้างแล้ว ซึ่งคุณแม่ส่วนหนึ่งที่จะรู้สึกได้
  • เด็กทารกจะเริ่มมีไตที่พัฒนาสมบูรณ์และใช้งานได้แล้ว
  • ตับของทารกจะเริ่มผลิตน้ำดีได้แล้ว
  • ม้ามของทารกเริ่มผลิตเซลล์เม็ดเลือดแดงได้เองแล้ว

 

การดูแลตัวเอง สำหรับคุณแม่ท้อง 14 สัปดาห์

1. ออกกำลังกายเบาๆ

คุณแม่สามารถออกกำลังกายเบา ๆ ได้ เช่น โยคะ หรือ การออกกำลังกายในน้ำ เนื่องจากเป็นการออกกำลังกายที่ไม่อันตราย และมีความเสี่ยงที่จะกระทบกระเทือนบริเวณหน้าท้องได้ยาก จึงเหมาะจะเป็นการออกกำลังกายสำหรับคุณแม่ในช่วงไตรมาสแรก

 

2. การแช่น้ำร้อน ผ่อนคลาย

การแช่น้ำร้อนช่วยให้คุณแม่ผ่อนคลายได้ เนื่องเป็นการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและช่วยคลายกล้ามเนื้อหลายส่วนร่างกาย นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยให้หลับสบายด้วย แต่ไม่ควรแช่น้ำร้อนจัด หรือแช่น้ำร้อนนานเกินไป เพราะอาจจะเป็นอันตรายต่อคุณแม่และเด็กได้ เช่น อาจทำให้เกิดอาการความดันต่ำ วิงเวียนศีรษะและหน้ามืดได้

 

สำหรับคุณแม่ที่มีอายุครรภ์ 14 สัปดาห์ จะมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่แตกต่างจากช่วงอายุครรภ์ 3 เดือนแรกอย่างชัดเจน คุณแม่จึงควรรับรู้อาการที่เกิดขึ้นได้บ่อย ๆ ในช่วงสัปดาห์ที่ 14 นี้ พร้อมทั้งดูแลตัวเองให้มีสุขภาพที่ดี เช่น ออกกำลังกายเบา ๆ และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รวมถึงต้องระมัดระวังอาการผิดปกติหรืออาการแทรกซ้อนซึ่งอาจจะนำไปสู่อันตรายของคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์ได้ หากไม่มั่นใจควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อความปลอดภัยของคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์

 

บทความแนะนำสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

 

 

อ้างอิง:

  1. Week 14, NHS
  2. 14 Weeks Pregnant, American Pregnancy Association
  3. พัฒนาการทารกในครรภ์ สัปดาห์ที่ 14 ของการตั้งครรภ์, hellokhunmor
  4. 14 Weeks Pregnant: Symptoms, Tips, and More, healthline
  5. สัญญานอันตรายที่แม่ตั้งครรภ์ต้องรีบไปพบแพทย์ : พบหมอรามาฯ, คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
  6. ขนาดทารกในครรภ์ ในช่วงสัปดาห์ต่าง ๆ เปรียบเทียบกับขนาดผักและผลไม้, hellokhunmor

อ้างอิง ณ วันที่ 11 มกราคม 2567

บทความที่เกี่ยวข้อง

View details ของเตรียมคลอด คุณแม่ควรเตรียมของไปคลอดอะไรบ้าง
บทความ
9 ของใช้เตรียมคลอด ที่คุณแม่มือใหม่ควรเตรียมของไปคลอด

ของเตรียมคลอด คุณแม่ควรเตรียมของไปคลอดอะไรบ้าง

รวมของใช้เตรียมคลอด คุณแม่เตรียมของไปคลอดอย่างไรให้ครบ อะไรที่คุณแม่ควรพกไปด้วยบ้าง ไปดูสิ่งที่ต้องเตรียมก่อนคลอดที่คุณแม่ควรเตรียมให้พร้อมกัน

View details อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 10 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง
บทความ
อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 10 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 10 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 10 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ลูกตัวใหญ่แค่ไหน สัญญาณอะไรที่บอกว่าคุณแม่ตั้งครรภ์ 10 สัปดาห์แล้ว พร้อมวิธีดูแลครรภ์

View details อายุครรภ์ 19 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 19 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง
บทความ
อายุครรภ์ 19 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 19 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 19 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 19 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 19 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 19 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ลูกในครรภ์ตัวใหญ่แค่ไหน สัญญาณอะไรที่บอกว่าคุณแม่ตั้งครรภ์ 19 สัปดาห์แล้ว พร้อมวิธีดูแลครรภ์

View details อายุครรภ์ 26 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 26 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง
บทความ
อายุครรภ์ 26 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 26 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 26 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 26 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 26 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 26 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ลูกตัวใหญ่แค่ไหน สัญญาณอะไรที่บอกว่าคุณแม่ตั้งครรภ์ 26 สัปดาห์แล้ว พร้อมวิธีดูแลครรภ์

View details อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 34 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง
บทความ
อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 34 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 34 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง

อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ คุณแม่ท้อง 34 สัปดาห์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ลูกตัวใหญ่แค่ไหน สัญญาณอะไรที่บอกว่าคุณแม่ตั้งครรภ์ 34 สัปดาห์แล้ว พร้อมวิธีดูแลครรภ์

View details โปรตีนสำหรับคนท้อง สารอาหารสำคัญช่วยลูกในครรภ์ฉลาดแข็งแรง
บทความ
โปรตีนสำหรับคนท้อง สารอาหารสำคัญช่วยลูกในครรภ์ฉลาดแข็งแรง

โปรตีนสำหรับคนท้อง สารอาหารสำคัญช่วยลูกในครรภ์ฉลาดแข็งแรง

หลักการง่าย ๆ สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ในการรับประทานอาหารนั่นคือ ทานให้หลากหลายและครบทุกหมู่เป็นประจำทุกวัน อาทิ แป้ง โปรตีน ผัก ผลไม้ เป็นต้น เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารครบถ้วนเพียงพอ แต่หากทำไม่ได

View details แผลผ่าคลอดกี่วันหาย พร้อมวิธีดูแลรอยแผลผ่าคลอดให้เนียนสวย
บทความ
แผลผ่าคลอดกี่วันหาย พร้อมวิธีดูแลรอยแผลผ่าคลอดให้เนียนสวย

แผลผ่าคลอดกี่วันหาย พร้อมวิธีดูแลรอยแผลผ่าคลอดให้เนียนสวย

แผลผ่าคลอดกี่วันหาย พร้อมวิธีดูแลรอยแผลผ่าคลอดและรอยผ่าคลอดให้แผลสวยหายไวและฟื้นตัวเร็ว ไปทำความรู้จักกับประเภทของรอยผ่าคลอดที่แม่ควรรู้กัน

View details 12 เมนูอาหารคนท้อง คนท้องกินอะไรได้บ้าง ดีต่อสุขภาพครรภ์
บทความ
12 เมนูอาหารคนท้อง คนท้องกินอะไรได้บ้าง ดีต่อสุขภาพครรภ์

12 เมนูอาหารคนท้อง คนท้องกินอะไรได้บ้าง ดีต่อสุขภาพครรภ์

รวมเมนูคนท้อง คนท้องกินอะไรได้บ้าง เมนูไหนที่ช่วยบำรุงครรภ์คุณแม่และลูกน้อยให้แข็งแรง ไปดูเมนูคนท้องและอาหารสำหรับคนท้องที่ดีกับลูกน้อยในครรภ์กัน

View details ฤกษ์คลอด ฤกษ์ผ่าคลอด เดือนกรกฎาคม 2567 วันมงคล เวลาดี
บทความ
ฤกษ์คลอด ฤกษ์ผ่าคลอด เดือนกรกฎาคม 2567 วันมงคล เวลาดี

ฤกษ์คลอด ฤกษ์ผ่าคลอด เดือนกรกฎาคม 2567 วันมงคล เวลาดี

ฤกษ์คลอด ฤกษ์ผ่าคลอด เดือนกรกฎาคม 2567 วันมงคล วันดี สำหรับคุณแม่ใกล้คลอด ฤกษ์ผ่าคลอด เดือนกรกฎาคม 2567 มีวันไหนมงคล เวลาดี เหมาะสำหรับคุณแม่ใกล้คลอดบ้าง ไปดูกัน

4นาที อ่าน

View details ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ผ่าคลอดมีลูกได้กี่คน ผ่าคลอดบ่อย อันตรายไหม
บทความ
ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ผ่าคลอดมีลูกได้กี่คน ผ่าคลอดบ่อย อันตรายไหม

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ผ่าคลอดมีลูกได้กี่คน ผ่าคลอดบ่อย อันตรายไหม

คุณแม่ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ผ่าคลอดมีลูกได้กี่คน คุณแม่ผ่าคลอดครั้งที่ 3 อันตรายไหม ส่งผลร้ายต่อร่างกายของคุณแม่หรือเปล่า ไปดูข้อควรรู้การผ่าคลอดกัน

5นาที อ่าน

View details ท้องแข็งบ่อยขณะตั้งครรภ์ ลูกโก่งตัวบ่อย อันตรายไหม
บทความ
ท้องแข็งบ่อยขณะตั้งครรภ์ ลูกโก่งตัวบ่อย อันตรายไหม

ท้องแข็งบ่อยขณะตั้งครรภ์ ลูกโก่งตัวบ่อย อันตรายไหม

ท้องแข็งบ่อย ลูกโก่งตัวบ่อย อาการที่พบได้ทั่วไปในช่วงไตรมาส 3 ของการตั้งครรภ์ อาการท้องแข็งบ่อยเป็นอย่างไร ไปดูวิธีป้องกันอาการท้องแข็งบ่อยกัน

5นาที อ่าน

View details ท้อง 8 เดือน ลูกอยู่ท่าไหน อาการท้องแข็งขณะตั้งครรภ์ 8 เดือน
บทความ
ท้อง 8 เดือน ลูกอยู่ท่าไหน อาการท้องแข็งขณะตั้งครรภ์ 8 เดือน

ท้อง 8 เดือน ลูกอยู่ท่าไหน อาการท้องแข็งขณะตั้งครรภ์ 8 เดือน

คุณแม่ท้อง 8 เดือน มีอาการแบบไหน ท้อง 8 เดือน ลูกอยู่ท่าไหน อาการท้องแข็งขณะตั้งครรภ์ 8 เดือน เป็นอย่างไร พร้อมวิธีรับมือและวิธีดูแลทารกในครรภ์

8นาที อ่าน

View details ท้อง 1 สัปดาห์ ตรวจเจอไหม สัญญาณเตือนว่าท้อง 1 สัปดาห์
บทความ
ท้อง 1 สัปดาห์ ตรวจเจอไหม สัญญาณเตือนว่าท้อง 1 สัปดาห์

ท้อง 1 สัปดาห์ ตรวจเจอไหม สัญญาณเตือนว่าท้อง 1 สัปดาห์

คุณแม่ท้อง 1 สัปดาห์ ตรวจเจอไหม อาการคนท้อง 1 สัปดาห์ เป็นอย่างไร สัญญาณเตือนคนท้องแบบไหน ที่บอกให้รู้ว่าแม่ท้อง 1 สัปดาห์แล้ว พร้อมวิธีดูแลครรภ์

7นาที อ่าน

View details คนท้องท้องเสียไตรมาส 3 ปวดท้องบิด พร้อมวิธีดูแลตัวเอง
บทความ
คนท้องท้องเสียไตรมาส 3 ปวดท้องบิด พร้อมวิธีดูแลตัวเอง

คนท้องท้องเสียไตรมาส 3 ปวดท้องบิด พร้อมวิธีดูแลตัวเอง

คนท้องท้องเสีย เกิดจากอะไร คนท้องท้องเสียไตรรมาส 3 อันตรายหรือไม่ อาการท้องเสียมีผลกระทบกับลูกน้อยในครรภ์แค่ไหน มาดูวิธีป้องกันที่คุณแม่ควรรู้กัน

6นาที อ่าน

View details คนท้องท้องอืด ไม่สบายท้อง แก้ยังไงดี พร้อมเมนูอาหารแก้ท้องอืด
บทความ
คนท้องท้องอืด ไม่สบายท้อง แก้ยังไงดี พร้อมเมนูอาหารแก้ท้องอืด

คนท้องท้องอืด ไม่สบายท้อง แก้ยังไงดี พร้อมเมนูอาหารแก้ท้องอืด

คนท้องท้องอืด อาหารไม่ย่อย ทำอย่างไรดี อาการคนท้องท้องอืด เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุและเกิดขึ้นได้ทุกไตรมาส ไปดูวิธีรับมือคนท้องท้องอืดและเมนูอาหารแก้ท้องอืดกัน

9นาที อ่าน

View details ลูกกลับหัวตอนกี่เดือน ท้อง 7 เดือน หัวลูกอยู่ตรงไหน
บทความ
ลูกกลับหัวตอนกี่เดือน ท้อง 7 เดือน หัวลูกอยู่ตรงไหน

ลูกกลับหัวตอนกี่เดือน ท้อง 7 เดือน หัวลูกอยู่ตรงไหน

ลูกกลับหัวตอนกี่เดือน ทารกในครรภ์ 7 เดือน กลับหัวหรือยัง สัญญาณเตือนอะไรบ้างที่บ่งบอกว่าลูกใกล้กลับหัวแล้ว  คุณแม่ควรเตรียมความพร้อมอย่างไร ไปดูกัน

7นาที อ่าน

View details จุกหลอก ดีกับลูกจริงไหม จุกนมหลอก มีข้อดีข้อเสียมีอะไรบ้าง
บทความ
จุกหลอก ดีกับลูกจริงไหม จุกนมหลอก มีข้อดีข้อเสียมีอะไรบ้าง

จุกหลอก ดีกับลูกจริงไหม จุกนมหลอก มีข้อดีข้อเสียมีอะไรบ้าง

จุกหลอกใช้ได้ตอนไหน จุกหลอกหรือจุกนมหลอกช่วยเบี่ยงเบนความสนใจและป้องกันลูกน้อยดูดนิ้วตัวเองได้จริงหรือไม่ ไปดูข้อดีและข้อเสียของจุกหลอกที่คุณแม่ควรรู้ไว้กัน

7นาที อ่าน

View details คนท้องย้อมผมได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า
บทความ
คนท้องย้อมผมได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า

คนท้องย้อมผมได้ไหม อันตรายกับลูกในท้องหรือเปล่า

คนท้องย้อมผมได้ไหม คำถามคาใจของคุณแม่ตั้งครรภ์หลายคน อยากสวยตอนตั้งครรภ์แต่ถูกห้ามให้ย้อมผม มาดูกันว่าในยาย้อมผมจะมีสารเคมีอะไรที่เป็นอันตรายกับทารกในครรภ์บ้าง

7นาที อ่าน

View details ที่ตรวจครรภ์แบบจุ่มแม่นยำแค่ไหม พร้อมวิธีใช้
บทความ
ที่ตรวจครรภ์แบบจุ่มแม่นยำแค่ไหม พร้อมวิธีใช้

ที่ตรวจครรภ์แบบจุ่มแม่นยำแค่ไหม พร้อมวิธีใช้

ที่ตรวจครรภ์แบบจุ่มใช้งานยังไง มีความแม่นยำแค่ไหนสำหรับตรวจการตั้งครรภ์ครั้งแรก ไปดูวิธีตรวจครรภ์แบบจุ่มที่คุณแม่มือใหม่ควรรู้ พร้อมวิธีเลือกซื้อที่ตรวจครรภ์

8นาที อ่าน