การกัดและการเคี้ยว – โลกใบใหม่ของรสชาติ!

การกัดและการเคี้ยว – โลกใบใหม่ของรสชาติ!

การกัดและการเคี้ยว – โลกใบใหม่ของรสชาติ!

เคล็ดลับโภชนาการ
บทความ
พ.ย. 4, 2024
4นาที

อาหารที่ดีที่สุดในช่วงขวบปีแรกคือ นมแม่ แต่เมื่อลูกต้องกินอาหารเสริมตามวัย คุณแม่ควรเรียนรู้วิธีเริ่มอย่างถูกต้อง เพื่อให้ลูกมีพฤติกรรมการกินและสุขภาพที่ดี

การเคี้ยว: ขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับพัฒนาการของทารก

ในขณะที่การดูดเป็นปฏิกิริยาอัตโนมัติ การเคี้ยวจะเป็นผลจากกระบวนการเรียนรู้ที่เริ่มเมื่ออายุประมาณ 4 เดือน และต่อเนื่องไปจนกระทั่งอายุประมาณ 1 ปี จึงเป็นไปไม่ได้ที่ทารกแรกเกิดจะกลืนอย่างอื่นนอกจากนมในช่วง 3 เดือนแรกของชีวิต เพราะลิ้นเล็กๆ ของเขาจะดุนอาหารออกมาตามสัญชาตญาณ แต่เมื่ออายุใกล้ถึง 4-5 เดือน ลูกก็จะเริ่มมีพัฒนาการทางการกินมากขึ้น ตอนแรกคุณแม่จะพบว่าลูกจะสามารถดูดได้ ตามด้วยการเคี้ยวด้วยเหงือก และการเก็บชิ้นอาหารไว้ภายในปาก แน่นอน ภายในเวลาไม่นานลูกจะชื่นชอบการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เหล่านี้! ประมาณ 2 เดือนต่อมา พัฒนาการของกล้ามเนื้อของลูกและฟันหน้าที่งอกขึ้นมาช่วยให้ลูกสามารถเคี้ยวได้ ทักษะใหม่นี้ และกล้ามเนื้อที่แข็งแรงขึ้นทั้งที่คอ ริมฝีปาก และคอหอยของลูก ทำให้เขาสามารถบดเคี้ยวอาหารในปากให้กลายเป็นชิ้นเล็กๆ ได้

การกัดและการเคี้ยว – โลกใบใหม่ของรสชาติ!

ความชอบส่วนตัวของลูกจะเริ่มต้นตั้งแต่จุดนี้ เพราะลูกเริ่มเรียนรู้ความสามารถของเขาเอง

ไม่นานนักลูกก็จะกินอาหารที่เป็นชิ้นเล็กๆ ได้ ในขณะที่ลูกกำลังเรียนรู้เทคนิคการเคี้ยว ขากรรไกรของเขาก็ขยายออก และเริ่มเป็นรูปเป็นร่าง การให้อาหารเสริมตามวัยทีละเล็กละน้อย จะช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในช่องหู แล้วยังช่วยให้เขาไปหาหมอฟันน้อยลงด้วยเมื่อเขาโตขึ้น นอกจากนี้ ในช่วงที่ลูกเรียนรู้วิธีการเคี้ยว ตัวน้อยของคุณจะสามารถถือช้อนและขวดนมของตัวเองได้ในที่สุด เพราะฉะนั้นจึงเป็นงานของคุณที่จะช่วยให้เขาผ่านขั้นตอนแรกของการกินอาหารด้วยตัวเอง

ฉันจะช่วยลูกของฉันที่มีอายุระหว่าง 6-12 เดือนได้อย่างไร: กระตุ้นโดยไม่มีการบังคับ
 

การกัดและการเคี้ยว – โลกใบใหม่ของรสชาติ!

ถึงเวลาแล้ว: ในที่สุดลูกก็พร้อมที่จะลองรสชาติใหม่ๆ เขาลังเลระหว่างความอยากรู้กับความกลัวในสิ่งที่ไม่รู้ จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่าลูกจะดูเป็นเด็กขี้กลัวในช่วงแรกๆ สิ่งที่คุณต้องทำก็คือ การยอมรับว่าเด็กๆ ต้องผ่านขั้นต่างๆ ในกระบวนการเจริญเติบโตที่ละขั้น และต้องไม่บังคับเขา

• ประมาณ 6 เดือน: ให้ลูกได้ลองอาหารเด็ก 6 เดือนที่บดละเอียด เนื้อสัมผัสที่เนียนเป็นเนื้อเดียวกัน- และไม่แตกต่างจากเนื้อสัมผัสของนมมากนัก เพื่อให้การเปลี่ยนผ่านเริ่มขึ้นอย่างนุ่มนวลที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
• ประมาณ 7-8 เดือน: เปลี่ยนจากอาหารที่มี “เนื้อบดเนียนละเอียด” ไปเป็นอาหารบด ที่มีเนื้อหยาบมากขึ้น โดยใช้ผลไม้และผักบด
• ตั้งแต่ 9 เดือนขึ้นไป: เปลี่ยนไปเป็นอาหารชิ้นเล็ก ที่อ่อนนุ่ม เช่น พาสต้า “ตัวอักษร” มันฝรั่งที่หั่นเป็นรูปลูกเต๋าชิ้นเล็กๆ ก่อนนำมาต้มสุก ข้าวนิ่มๆ ผลไม้หรือผักที่ปรุงสุกแล้ว ฯลฯ แล้วค่อยตามด้วยเนื้อสัตว์บดและเนื้อปลา เพราะอาหารพวกนี้จะเหนียวและเคี้ยวได้ยากกว่า
• ตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป: ต้องให้ลอง! อาหารของลูกอาจประกอบด้วยอาหารชิ้นเล็กๆ ที่มีความหนาและความกรอบต่างกันไป โดยอาจบดอาหารด้วยส้อม แล้วให้ลูกลอง โดยอาจให้แครอทต้มสุกที่หั่นเป็นชิ้น มะเขือเทศปอกเปลือกที่ถูกหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ฯลฯ แต่ควรจำไว้ว่า ลูกยังไม่สามารถกินอาหารได้เหมือนผู้ใหญ่ อย่าบังคับลูกให้กินอาหารโปรตีน เช่น เนื้อและปลา (3-8 ช้อนชาต่อวัน) และให้ความสำคัญเป็นลำดับแรกกับนม ผลิตภัณฑ์นม และธัญพืชต่างๆ

การกัดและการเคี้ยว – โลกใบใหม่ของรสชาติ!

ลูกของฉันมีสิทธิออกความเห็นในเรื่องนี้หรือไม่?

แม้ว่าคุณจะทำตามขั้นตอนที่ระบุในตำรา ลูกของคุณก็ยังต้องการออกความเห็นของเขา ต่อไปนี้คือคำแนะนำบางอย่าง
• เพื่อเป็นการช่วยให้ลูกสามารถแยกแยะอาหารที่มีเนื้อสัมผัสต่างกันได้:
• ให้ลูกได้อาหารที่บางส่วนบดละเอียด ส่วนที่เหลือให้บดหยาบหรือเป็นชิ้นเล็กๆ โดยขึ้นอยู่กับอายุของลูก
• ปล่อยให้ลูกใช้มือหยิบจับอาหารบ้างในบางครั้ง เพื่อให้เขาได้พัฒนาประสาทสัมผัสทั้งหมด
• ถ้าลูกไม่ชอบเนื้อสัมผัสบางอย่าง ให้เว้นระยะสัก 2-3 วันก่อน แล้วค่อยนำอาหารชนิดอื่นที่มีเนื้อสัมผัสเหมือนกันมาให้ลูกลองกิน
• ถ้าลูกปฏิเสธที่จะลองกินอาหารใหม่ๆ: ไม่ควรบังคับ ถ้าการหย่านมกลายเป็นขบวนการที่ยากลำบากมาก ก็ไม่ต้องเร่งรัด อย่าทำให้เวลาอาหารกลายเป็นการก่อสงครามทางด้านจิตใจ (หลีกเลี่ยงวิธี “กินให้แม่ดูหน่อยสิจ้ะ”) หรือการบังคับ ลูกอาจแค่ต้องการเวลาปรับตัวกับสิ่งใหม่ๆ ทั้งหมดนี้!

สิ่งสำคัญ:

อย่ารอเวลาในการเปลี่ยนอาหารแบบบดละเอียดไปเป็นอาหารแบบบดหยาบนานเกินไป เพราะจะทำให้ลูกมีปัญหาการยอมรับ เมื่อต้องเปลี่ยนไปเป็นอาหารที่มีเนื้อสัมผัส “หยาบขึ้น”
เมื่อคุณเปลี่ยนไปเป็นอาหารชิ้นเล็กๆ ควรตรวจดูให้แน่ใจว่ามันไม่ได้แข็งหรือใหญ่จนเกินไป สิ่งต่างๆ อาจแย่ลงได้ง่ายๆ ถ้า “ไปผิดทาง”!

From Nestlé global toolkit

บทความที่เกี่ยวข้อง

View details เมนูอาหาร 5 หมู่สำหรับเด็ก อร่อยถูกใจ ได้สารอาหารครบถ้วน
บทความ
Five Food Groups

เมนูอาหาร 5 หมู่สำหรับเด็ก อร่อยถูกใจ ได้สารอาหารครบถ้วน

คุณแม่ต้องการดูแลให้ลูกน้อยมีสุขภาพดีและแข็งแรง รวมถึงมีพัฒนาการที่ดีทางร่างกายและสมอง ดังนั้นการให้ลูกกินอาหารครบ 5 หมู่คือกุญแจสู่ความสำเร็จ

11นาที อ่าน

View details คุณประโยชน์ของโฮลเกรน
บทความ
คุณประโยชน์ของโฮลเกรน

คุณประโยชน์ของโฮลเกรน

เมื่อลูกน้อยอายุ 1 ปี ระบบทางเดินอาหารจะมีความพร้อมรับประโยชน์ดีๆ จาก “โฮลเกรน” และอาหารอื่นๆ เพราะฟันที่เพิ่มขึ้นช่วยให้ลูกน้อยสามารถเคี้ยวอาหารได้มากขึ้น

2นาที อ่าน

View details ปลูกฝังนิสัยการกินและโภชนาการที่ดีเพื่อเด็กวัยหัดเดิน 1 ปีขึ้นไป
บทความ
ปลูกฝั่งนิสัยการกิน

ปลูกฝังนิสัยการกินและโภชนาการที่ดีเพื่อเด็กวัยหัดเดิน 1 ปีขึ้นไป

วางรากฐานวินัยการกินอาหารและโภชนาการเด็ก 1 ปี เป็นจุดเริ่มต้นให้ลูกน้อยมีนิสัยการกินที่ดีไปตลอดชีวิต เทคนิคง่ายๆให้คุณแม่นำไปปรับใช้ปลูกฝังนิสัยการกินที่ดี เพื่อโภชนาการที่ดีของลูก<

2นาที อ่าน

View details ประโยชน์ดี ๆ ของโยเกิร์ต เมนูสุขภาพ เหมาะกับลูกน้อย
บทความ
เด็กเล็กฝึกกินอาหารเสริมตามวัย

ประโยชน์ดี ๆ ของโยเกิร์ต เมนูสุขภาพ เหมาะกับลูกน้อย

เมื่อลูกน้อยอายุได้ 12 เดือนนอกเหนือจากการกระตุ้นพัฒนาการด้านภาษาแล้ว คุณแม่สามารถเริ่มให้อาหารใหม่ๆ เช่น โยเกิร์ตที่มีส่วนผสมของผักหรือผลไม้บดได้

1นาที อ่าน

View details การจัดอาหารสำหรับวัยเตาะแตะ
บทความ
การจัดอาหารสำหรับวัยเตาะแตะ

การจัดอาหารสำหรับวัยเตาะแตะ

คำแนะนำต่อไปนี้เป็นสิ่งที่เด็กวัยเตาะแตะต้องการทุกวันซึ่งจะทำให้การวางแผนง่ายขึ้นตามความ แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระดับกิจกรรมและอายุ

3นาที อ่าน

View details ลูกอมข้าว ปัญหาปวดหัวของพ่อ-แม่แต่แก้ไม่ยาก
บทความ
ลูกอมข้าว ปัญหาปวดหัวของพ่อแม่ แต่แก้ไม่ยาก

ลูกอมข้าว ปัญหาปวดหัวของพ่อ-แม่แต่แก้ไม่ยาก

บ่อยครั้งที่คุณตั้งใจทำอาหารมาเป็นอย่างดี แต่พอป้อนเจ้าตัวน้อย เขากลับมีอาการอมข้าว ไม่ยอมเคี้ยว ไม่ยอมกลืน เล่นเอาคุณเหนื่อย และเป็นกังวลว่าเขาจะแข็งแรงไหม

2นาที อ่าน

View details อาหารเสริมเด็ก อาหารตามวัยสำหรับลูกน้อย ตัวช่วยเสริมภูมิคุ้มกันลูก
บทความ
อาหารเสริมเด็ก ตัวช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน อาหารเสริมสำหรับเด็กตามวัย

อาหารเสริมเด็ก อาหารตามวัยสำหรับลูกน้อย ตัวช่วยเสริมภูมิคุ้มกันลูก

อาหารเสริมตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็กอายุ 6 เดือนขึ้นไปมีความสำคัญ เพราะประโยชน์ของอาหารเสริมตามวัย ช่วยเสริมให้ลูกมีภาวะโภชนาการที่ดี ร่างกายเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง

6นาที อ่าน

View details อาหารเสริมธัญพืชตับบด เมนูที่แน่นด้วยคุณค่า
บทความ
อาหารเสริมธัญพืชตับบด เมนูที่แน่นด้วยคุณค่า

อาหารเสริมธัญพืชตับบด เมนูที่แน่นด้วยคุณค่า

วันนี้เรามีเมนู “อาหารเสริมธัญพืชตับบด” สำหรับลูกน้อย ที่ทั้งทำง่ายและใช้เวลาไม่นาน ทั้งยังเป็นเมนูที่ลูกจะได้รับประโยชน์จากธัญพืช แคลเซียมจากนม และธาตุเหล็กจากตับบดอย่างเต็มที่

2นาที อ่าน

View details อาหารเสริมธัญพืชเพื่อพัฒนาการของสมองและร่างกาย
บทความ
อาหารเสริมธัญพืชเสริมพัฒนาการสมองและร่างกาย

อาหารเสริมธัญพืชเพื่อพัฒนาการของสมองและร่างกาย

รู้หรือไม่ว่า อาหารเสริมธัญพืช เต็มไปด้วยคุณค่าจาก DHA และธาตุเหล็กจะช่วยเติมเต็มพัฒนาการทางสมองและร่างกายของลูกน้อยให้สมบูรณ์แข็งแรง

2นาที อ่าน

View details “จากนมแม่สู่อาหารเสริม” ให้ทุกคำของลูกเปี่ยมด้วยคุณค่า
บทความ
“จากนมแม่สู่อาหารเสริม” ให้ทุกคำของลูกเปี่ยมด้วยคุณค่า

“จากนมแม่สู่อาหารเสริม” ให้ทุกคำของลูกเปี่ยมด้วยคุณค่า

การเริ่มอาหารเสริมครั้งแรกของลูกวัย 6 เดือนเป็นเรื่องสำคัญ เพราะกระเพาะอาหารของลูกยังเล็กมาก และน้ำนมแม่ก็ยังคงเป็นอาหารหลักที่ให้สารอาหารต่างๆ กับลูกได้ดีที่สุด

3นาที อ่าน

View details 5 อาหารเสริมให้ลูกฉลาด กินอะไรให้ลูกฉลาด พัฒนาสมองลูก
บทความ
5 อาหารเสริมให้ลูกฉลาด กินอะไรให้ลูกฉลาด พัฒนาสมองลูก

5 อาหารเสริมให้ลูกฉลาด กินอะไรให้ลูกฉลาด พัฒนาสมองลูก

กินอะไรให้ลูกฉลาดและมีพัฒนาการทางสมองที่ดี ไปดู 5 อาหารเสริมให้ลูกฉลาด และสารอาหารสำคัญที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาสมองของลูกน้อย พร้อมให้ลูกน้อยเรียนรู้ได้อย่างสมวัย

 

View details เมนู Finger Food สำหรับลูกน้อย
บทความ
Finger food ฝึกเคี้ยวกับอาหารมือถือ

เมนู Finger Food สำหรับลูกน้อย

เมนูแบบ Finger food สำหรับเด็ก เป็นการฝึกฝนทักษะการเคี้ยวควบคู่กับทักษะการใช้นิ้วมือในการหยิบจับ อาหารจึงควรมีขนาดกว้างและยาวเท่ากับนิ้วก้อย และเป็นแท่งเดียวตลอดชิ้น ไม่แยกส่วนกัน ถ

2นาที อ่าน

View details อาหารมื้อแรกของลูกตามช่วงวัย ข้าวมื้อแรกของลูก ควรเริ่มกินเมื่อไหร่
บทความ
อาหารมื้อแรกของลูก ข้าวมื้อแรกของลูก เริ่มกินเมื่อไหร่ถึงจะดี

อาหารมื้อแรกของลูกตามช่วงวัย ข้าวมื้อแรกของลูก ควรเริ่มกินเมื่อไหร่

ลูกน้อยอายุ 6 เดือนขึ้นไป คือช่วงวัยที่พร้อมสำหรับอาหารมื้อแรกของลูก คุณแม่ควรใส่ใจกับอาหารมื้อแรกของลูก เพราะช่วยเติมเต็มพัฒนาการและความแข็งแรงของร่างกาย

9นาที อ่าน

View details 4 อาหารเสริมธาตุเหล็กทารก สำหรับเด็กขาดธาตุเหล็ก ป้องกันโลหิตจาง
บทความ
4 อาหารเสริมธาตุเหล็กทารก ช่วยป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก

4 อาหารเสริมธาตุเหล็กทารก สำหรับเด็กขาดธาตุเหล็ก ป้องกันโลหิตจาง

อาหารเสริมธาตุเหล็กทารก สำหรับเด็กขาดธาตุเหล็กสำคัญอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ลูกน้อยมีพัฒนาการช้า ทั้งร่างกาย สมองและอารมณ์ ไปดูอาหารเสริมธาตุเหล็กที่สำคัญกับลูกน้อยกัน

5นาที อ่าน

View details รู้จัก “อาหารสี่มื้อ” สำหรับทารก
บทความ
รู้จัก “อาหารสี่มื้อ” สำหรับทารก

รู้จัก “อาหารสี่มื้อ” สำหรับทารก

ช่วงเวลาของการกินอาหารสำหรับลูกน้อยวัย 6 เดือนขึ้นไป เปรียบเสมือนชั่วโมงแห่งการเรียนรู้และการค้นพบสิ่งใหม่ๆ แต่จะมั่นใจได้อย่างไรว่า เมนูนั้นช่วยเสริมศักยภาพของลูกแล้วหรือยัง?

4นาที อ่าน

View details มันเทศสุดยอดอาหารเสริมสำหรับเด็กวัยนั่งได้
บทความ
“จากนมแม่สู่อาหารเสริม” ให้ทุกคำของลูกเปี่ยมด้วยคุณค่า

มันเทศสุดยอดอาหารเสริมสำหรับเด็กวัยนั่งได้

"มันเทศ" อาหารแข็งแรกเริ่มที่อุดมด้วยสารอาหาร และวิตามินมากมาย เหมาะกับเด็กวัยนั่งได้เป็นอย่างมาก

2นาที อ่าน

View details ลูกไม่กินข้าว ลูกกินข้าวยากทำไงดี พร้อมวิธีแก้ปัญหาลูกไม่ยอมกินข้าว
บทความ
ลูกไม่กินข้าว ลูกกินข้าวยากทำไงดี พร้อมวิธีแก้ปัญหาลูกไม่ยอมกินข้าว

ลูกไม่กินข้าว ลูกกินข้าวยากทำไงดี พร้อมวิธีแก้ปัญหาลูกไม่ยอมกินข้าว

ลูกกินข้าวยาก ลูกเบื่ออาหาร เป็นปัญหาโลกแตกที่หลายบ้านกำลังเผชิญ คุณแม่กลุ้มใจเหลือเกิน ลองมาสารพัดเมนูที่เขาว่า ทำแล้วลูกชอบ อร่อยและมีประโยชน์ ก็ไม่สำเร็จ หลอกล่อสารพัดวิธีก็ไม่ได้ผล กลัวลูกตัวเล

7นาที อ่าน

View details สร้างพฤติกรรมการกินที่ดีให้ลูกน้อย
บทความ
สร้างพฤติกรรมการกินที่ดีให้ลูกน้อย

สร้างพฤติกรรมการกินที่ดีให้ลูกน้อย

ทุกคนรู้ดีว่าควรกินผักและผลไม้ให้ครบ 5 ส่วนในแต่ละวัน แล้วลูกของฉันต้องกินแบบนี้ด้วยรึเปล่า? อยากได้คำแนะนำในการสร้างพฤติกรรมการกินที่ดีให้ลูกน้อย

3นาที อ่าน

View details การกินแบบ BLW คืออะไร ฝึกลูกให้กินมื้อแรกแบบ BLW
บทความ
การกินแบบ BLW คืออะไร ฝึกเจ้าตัวเล็กให้กินแบบ BLW มื้อแรกยากไหม

การกินแบบ BLW คืออะไร ฝึกลูกให้กินมื้อแรกแบบ BLW

นอกจากการให้อาหารเสริมตามวัย อีกหนึ่งวิธีที่ได้รับความนิยมอย่างมากคือ การให้ทารกหยิบอาหารกินเองซึ่งมีพื้นฐานจากลักษณะการกินอาหารด้วยตัวเองจากการดูดนมแม่นั่นเอง

7นาที อ่าน