2 สิ่งสำคัญสำหรับเด็กผ่าคลอด เพื่อการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ
2 สิ่งสำคัญสำหรับเด็กผ่าคลอด
เพื่อการเรียนรู้ อย่างเต็มศักยภาพ
เพื่อการเรียนรู้ อย่างเต็มศักยภาพ
เด็กผ่าคลอด มีพัฒนาการระบบภูมิคุ้มกันตั้งต้นที่ช้ากว่า
เด็กคลอดธรรมชาติ เพราะไม่ได้รับจุลินทรีย์สุขภาพ
โพรไบโอติกส์ผ่านทางช่องคลอดแม่ นอกจากนี้ยังพบว่า
เด็กผ่าคลอดมีความเสี่ยงด้านพัฒนาการทางสมองอีกด้วย
ดังนั้นคุณแม่ผ่าคลอดควรเตรียมความพร้อมของลูก
เพื่อให้ลูกมีพัฒนาการทางสมองและภูมิคุ้มกันที่ดี
เหมือนเด็กคลอดธรรมชาติ
เด็กคลอดธรรมชาติ เพราะไม่ได้รับจุลินทรีย์สุขภาพ
โพรไบโอติกส์ผ่านทางช่องคลอดแม่ นอกจากนี้ยังพบว่า
เด็กผ่าคลอดมีความเสี่ยงด้านพัฒนาการทางสมองอีกด้วย
ดังนั้นคุณแม่ผ่าคลอดควรเตรียมความพร้อมของลูก
เพื่อให้ลูกมีพัฒนาการทางสมองและภูมิคุ้มกันที่ดี
เหมือนเด็กคลอดธรรมชาติ
เกิดอะไรขึ้นในสมอง
ของเด็กผ่าคลอด
รู้หรือไม่ สมองของเด็กผ่าคลอด
และเด็กคลอดธรรมชาติมีความ
แตกต่างกัน
และเด็กคลอดธรรมชาติมีความ
แตกต่างกัน
จากการศึกษาของ Deoni S.C. et al. ด้วยภาพสแกน
การเชื่อมโยงการทำงานของเซลล์ประสาทในสมอง
(Brain connectivity) ในเด็กอายุ 2 สัปดาห์ พบว่า
การเชื่อมโยงการทำงานของเซลล์ประสาทในสมอง
(Brain connectivity) ในเด็กอายุ 2 สัปดาห์ พบว่า
สมองของเด็กผ่าคลอดมีการเชื่อมโยงการทำงานของ
สมองน้อยกว่าเด็กคลอดธรรมชาติ
สมองน้อยกว่าเด็กคลอดธรรมชาติ
พัฒนาการทางสมองส่วนคอร์ปัส คาโลซัม
(Corpus Callosum) ที่เชื่อมโยงการทำงานระหว่าง
สมองซีกซ้ายและซีกขวาของเด็กอายุตั้งแต่
อายุ 3 เดือนจนถึง 3 ปี มีการสร้างไมอีลินในสมอง
น้อยกว่าเด็กคลอดธรรมชาติ1
(Corpus Callosum) ที่เชื่อมโยงการทำงานระหว่าง
สมองซีกซ้ายและซีกขวาของเด็กอายุตั้งแต่
อายุ 3 เดือนจนถึง 3 ปี มีการสร้างไมอีลินในสมอง
น้อยกว่าเด็กคลอดธรรมชาติ1
นมแม่ สร้างสมองไวและ
เสริมภูมิคุ้มกันให้เด็กผ่าคลอด
ในช่วงแรกของชีวิต
นมแม่เป็นโภชนาการแรกที่เด็กควรได้รับตั้งแต่แรก
เกิด เป็นแหล่งรวมสารอาหารที่จำเป็นอย่างครบถ้วน
มีส่วนช่วยในการพัฒนาสมองของลูกน้อยอย่างมาก
เกิด เป็นแหล่งรวมสารอาหารที่จำเป็นอย่างครบถ้วน
มีส่วนช่วยในการพัฒนาสมองของลูกน้อยอย่างมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารอาหารประเภทไขมันกลุ่ม
ฟอสโฟไลปิดที่ชื่อว่า “สฟิงโกไมอีลิน” ที่ช่วยในการสร้าง
ปลอกไมอีลิน ทำให้สมองคิดเร็ว เรียนรู้ไว2
ฟอสโฟไลปิดที่ชื่อว่า “สฟิงโกไมอีลิน” ที่ช่วยในการสร้าง
ปลอกไมอีลิน ทำให้สมองคิดเร็ว เรียนรู้ไว2
รวมทั้งยังมีจุลินทรีย์สุภาพ บีแล็กทิส (B. lactis) หนึ่งใน
จุลินทรีย์สุขภาพในกลุ่มบิฟิโดแบคทีเรียม
(Bifidobacterium) และยังเป็นโพรไบโอติกส์ที่สามารถ
ส่งต่อ เพื่อสร้างระบบ ภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยได้อีกด้วย
จุลินทรีย์สุขภาพในกลุ่มบิฟิโดแบคทีเรียม
(Bifidobacterium) และยังเป็นโพรไบโอติกส์ที่สามารถ
ส่งต่อ เพื่อสร้างระบบ ภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยได้อีกด้วย
*นมแม่มีสารอาหารกว่า 200 ชนิด
การสร้างไมอีลิน เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในขวบปีแรก
เป็นกระบวนการพัฒนาสมองที่สำคัญ โดยเฉพาะในส่วน
ที่ทำหน้าที่หลักในการช่วยส่งสัญญาณประสาท
เป็นกระบวนการพัฒนาสมองที่สำคัญ โดยเฉพาะในส่วน
ที่ทำหน้าที่หลักในการช่วยส่งสัญญาณประสาท
ไมอีลินในสมอง มีการสร้าง
อย่างรวดเร็ว ในขวบปีแรก
อย่างรวดเร็ว ในขวบปีแรก
จุลินทรีย์สุขภาพ B. lactis
โพรไบโอติกส์ เกราะคุ้มกันใน
ช่วงแรกของชีวิต
จุลินทรีย์สุขภาพบิฟิโดแบคทีเรียม
(Bifidobacterium) หนึ่งในโพรไบโอติกส์ ที่พบได้มากใน
นมแม่4 และลำไส้ของเด็กที่คลอดธรรมชาติ5 คุณแม่
หลายคนอาจกำลังสงสัยว่า Probiotic คืออะไร
B. lactis หรือ โพรไบโอติกส์จัดว่าเป็น กลุ่มจุลินทรีย์
ในลำไส้ที่โดดเด่นของทารก
(Bifidobacterium) หนึ่งในโพรไบโอติกส์ ที่พบได้มากใน
นมแม่4 และลำไส้ของเด็กที่คลอดธรรมชาติ5 คุณแม่
หลายคนอาจกำลังสงสัยว่า Probiotic คืออะไร
B. lactis หรือ โพรไบโอติกส์จัดว่าเป็น กลุ่มจุลินทรีย์
ในลำไส้ที่โดดเด่นของทารก
มีบทบาทสำคัญต่อพัฒนาการของทารกแรกเกิดและ
เด็กวัยทารกเป็นอย่างมาก
เด็กวัยทารกเป็นอย่างมาก
อาศัยอยู่ในระบบทางเดินอาหารโดยเฉพาะบริเวณ
ลำไส้6
ลำไส้6
ช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทั้งยังป้องกัน
โรคได้หลายชนิด บรรเทาอาการท้องผูก ลดการติด
เชื้อ ลดการอักเสบ
โรคได้หลายชนิด บรรเทาอาการท้องผูก ลดการติด
เชื้อ ลดการอักเสบ
ช่วยปรับสมดุลในลำไส้ได้ดี สามารถป้องกันอาการท้อง
เสียเฉียบพลันในทารก และอาการลำไส้แปรปรวน
ได้ด้วย7
เสียเฉียบพลันในทารก และอาการลำไส้แปรปรวน
ได้ด้วย7
References
- Deoni S.C., et al. AJNR Am J Neuroradiol. 2019 Jan;40(1): 169–177.
- Chevalier et al. PLos ONE 2015.
- Deoni S, et al. Neuroimage. 2018 Sep;178: 649-659.
- Gueimonde M, et al. Neonatology. 2007;92(1):64-6.
- Yang B, et al. Int J Mol Sci. 2019 Jul 5;20(13):3306.
- Saturio, S.;el tc, S. Role of Bifidobacteria on Infant
Health.Microorganisms 2021: 9, 2415 - Floch M, et al. J Clin Gastroenterol 2015;49:S69–S73.